วันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

การวิเคราะห์หาปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์และปริมาณน้ำตาลทั้งหมดโดยวิธี Lane and Eyon

Determination of Reducing sugar and Total sugar

หลักการ
Invert sugar (glucose and fructose) จะรีดิวซ์คอปเปอร์ที่อยู่ใน Fehling's solution ให้เป็น red-insoluble cuprous oxide ปริมาตรของสารละลายน้ำตาลซึ่งต้องใช้ทำปฏิกิริยากับ Fehling's solution ที่มีปริมาตรแน่นอนหาได้จากการไตเตรตโดยใช้ methylene blue เป็นอินดิเคเตอร์

ก. สารเคมี
1. Fehling's A solution  เตรียมโดยละลายคอปเเปอร์ซัลเฟต 69.28 g ในน้ำกลั่น เติมน้ำกลั่นลงไปจนได้

ปริมาตรครบ 1,000 ml.
2. Fehling's B solution  เตรียมโดยละลายโปแตสเซียมโซเดียมทาร์เทรตเตตระไฮเดรต 346 g และโซเดียมไฮดรอกไซต์ 100 g ในน้ำกลั่น เติมน้ำกลั่นจนได้ปริมาตรครบ 1,000 ml.
3. Methylene blue 1%
4. Neutral lead acetate solution 10%
5. Potassium oxalate solution 10%
6. Standard dextrose solution 0.2%

ข. การหาค่ามาตรฐานของสารละลาย Fehling's
1. นำ flask ใส่สารละลาย Fehling's A และ B อย่างละ 5 ml.
2. ใส่ glasbit 2-3 เม็ด แล้วใส่ dextrose 15 ml.
3. นำไปต้มบน hot plate จนเดือด เติม methylene blue 2-3 หยด
4. ไตเตรตขณะร้อน จนถึงจุดยุติได้สีแดงอิฐ บันทึกผล

ค. การหา Reducing sugar และ Total sugar
1. ชั่งตัวอย่าง  5 g ใส่ในบีกเกอร์
2. ละลายด้วยน้ำกลั่น 100 ml. ต้มให้เดือดประมาณ 1 ชั่วโมง ทิ้งไว้ให้เย็น
3. เติม 10% Neutral lead acetate solution 2 ml. เขย่าทิ้งไว้ 10 นาที
4. เติม 10% Potassium oxalate solution 0.5 ml. ปรับปริมาตรด้วยน้ำกลั่นให้ได้ 250 ml.
5. กรองด้วยกระดาษกรองเบอร์ 4 แล้วแบ่งเป็น 2 ส่วน

ส่วนที่1 หา reducing sugar โดย นำตัวอย่างที่กรองได้ใส่ในบิวเรต
1. นำ flask ใส่สารละลาย Fehling's A และ B อย่างละ 5 ml.
2. ใส่ glasbit 2-3 เม็ด
3. นำไปต้มบน hot plate จนเดือด เติม methylene blue 2-3 หยด
4. ไตเตรตขณะร้อน จนถึงจุดยุติได้สีแดงอิฐ บันทึกผล

ส่วนที่2 หา total sugar โดยปิเปตตัวอย่างที่กรองมา 10 ml. เติม HCl (1:1) 5 ml. แล้วนำไปต้มจนเดือด 10 นาที ทำให้เย็นลง และปรับให้เป็นกลางด้วย 1N NaOH เติมน้ำกลั่นให้ปริมาตรครบ 100 ml. แล้วนำสารละลายที่ได้ไปใส่ในบิวเรต
1. นำ flask ใส่สารละลาย Fehling's A และ B อย่างละ 5 ml.
2. ใส่ glasbit 2-3 เม็ด
3. นำไปต้มบน hot plate จนเดือด เติม methylene blue 2-3 หยด
4. ไตเตรตขณะร้อน จนถึงจุดยุติได้สีแดงอิฐ บันทึกผล



เรื่อง การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของอาหาร




วันเดือนปีที่ทำการทดลอง   1-4 ธันวาคม 2558

ตัวอย่างอาหาร ขนมข้าวโพดอบกรอบ รสนม ตราเซเว่น

การวิเคราะห์หาปริมาณความชื้น
( Determination of Moisture Content )
วัตถุประสงค์
     1.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงการวิเคราะห์หาปริมาณความชื้น ( Moisture Content ) และ ปริมาณของแข็งทั้งหมด (total solid) ในผลิตภัณฑ์อาหาร
     2.       เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณหาปริมาณความชื้น ( Moisture Content ) และ ปริมาณของแข็งทั้งหมด (total solid) ในผลิตภัณฑ์อาหาร

ทฤษฎี
       ความชื้น ( Moisture Content ) หมายถึง ปริมาณสารที่ระเหยได้ทั้งหมด ซึ่งเรามักเข้าใจว่าคือน้ำ ส่วนจองแข็งที่เหลืออยู่เรียกว่า ของแข็งทั้งหมด (total solid) น้ำที่มีอยู่ในอาหารมีอยู่3รูปได้แก่ Bound Water, Adsorbed Water และ Free Water การให้ความร้อนแก่ผลิตภัณฑ์อาหารในการวิเคราะห์หาค่า Moisture Content น้ำที่สูญเสียไปจะเป็น Free Water ส่วน Bound Water และ Adsorbed Water จะเกาะติดกับโมเลกุลของอาหารซึ่งยากที่จะแยกออกจากอาหาร อย่างไรก็ตามปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก็ทำให้เรามีเครื่องมือในการวิเคราะห์ค่า Moisture Content ที่มีประสิทธิภาพสูงในการดึงน้ำออกจากโมเลกุลของอาหาร ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหยของน้ำในอาหารได้แก่ ระดับอุณหภูมิและระยะเวลาในการให้ความร้อน นอกจากนี้การเลือกสภาวะการระเหยน้ำควรคำนึงถึงการสลายตัว (Decomposition) ของผลิตภัณฑ์อาหารบางชนิดด้วย

อุปกรณ์และเครื่องมือ
     1.       ตู้อบลมร้อน ( Hot air oven ) หรือตู้อบสุญญากาศ ( Vacuum oven )
      2.       Moisture Con
     3.       Analytical balance
     4.       Water bath
     5.       โถดูดความชื้น ( dassicator )

วิธีการ
1. อบจานหาความชื้น ( moisture can ) พร้อมด้วยฝาปิดในตู้อบลมร้อนที่อุณหภูมิ 100-105 องศา หรือในตู้อบสุญญากาศอุณหภูมิ 60 องศา ประมาณ 30 นาที ทิ้งให้เย็นในโถดูดความชื้นที่อุณหภูมิห้อง ชั่งน้ำหนักจานและฝาปิดให้ได้น้ำหนักที่แน่นอน
2. ชั่งตัวอย่างอาหารให้ทราบน้ำหนักที่แน่นอนประมาณ 5 กรัม ใส่จานหาความชื้นพร้อมฝาปิดที่ผ่านการอบแห้งและทราบน้ำหนักที่แน่นอน
3. นำไปอบในตู้อบลมร้อนที่อุณหภูมิ 100-105 องศา หรือในตู้อบสุญญากาศอุณหภูมิ 60 องศา ประมาณ    4 ชม. ปล่อยทิ้งไว้ให้เย็นในโถดูดความชื้น และชั่งหาน้ำหนักที่แน่นอน
4. ทำการอบซ้ำนานครั้งละ 30 นาที และชั่งน้ำหนักจนกว่าจะได้น้ำหนักที่คงที่
5. คำนวณปริมาณร้อยละความชื้นของตัวอย่างอาหาร (% moisture content) และปริมาณร้อยละของของแข็งทั้งหมดของตัวอย่างอาหาร (% total solid )

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ครั้งที่
น.น. moisture can (g)
น.น. moisture can * ตัวอย่างก่อนอบ (g)
น.น. moisture can * ตัวอย่างหลังอบ (g)
1
12.1985
17.2425
17.1990
2
12.0602
17.1474
17.1325
เฉลี่ย
12.1294
17.1732
17.1658



การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า
( Determination of ash content )
วัตถุประสงค์
การทำความเข้าใจหลักการและวิธีการในการกำหนดปริมาณเถ้าในอาหาร

หลักการ
       แร่ธาตุรวมของอาหารอาจจะถูกประเมินเป็นปริมาณเถ้าซึ่งเป็นสารตกค้างที่เหลืออยู่หลังจากสารอินทรีย์ได้ถูกเผาไป

อุปกรณ์
1. Crucibles
2. Hot plate
3. Desiccator
4. Muffle furnace 550 C
5. Water bath or drying oven

สารเคมี
1. 0.05M H2SO4 acid
2. Concentrated sulfuric acid
3. Methyl orange

วิธีการ
     1.       ชั่งน้ำหนักอย่างถูกต้อง 2-5 กรัมของอาหารที่เป็นจุดก่อนหน้านี้ระบายความร้อนและชั่งน้ำหนัก  Crucibles (สำหรับอาหารที่มีความชื้นสูงหรือตัวอย่างของเหลวระเหยแห้งหรือนำไปอบในเตาอบที่ 100 องศาเซลเซียสสำหรับแป้งข้าวและธัญพืชอื่น ๆ เพิ่มไม่กี่หยดของกลีเซอรอลและผสมเบาๆ
     2.       ให้ความร้อนโดยนำไปเผา ที่อุณหภูมิ 550  องศาเซลเซียส
     3.       นำ Crucibles ไปยังเตาเผาที่ประมาณ 550 องศาเซลเซียส และปล่อยจนกว่าจะมีสีขาวหรือเถ้าสีเทา (ถ้ามีสารตกค้างที่เป็นสีดำ. ทาด้วยจำนวนเล็ก ๆ ของน้ำที่จะละลายเกลือแห้งในเตาอบและทำซ้ำขั้นตอน ashing.
     4.       นำ Crucibles ที่ผ่านการอบแล้วไปใส่ไว้ใน Desiccator จาเย็น
     5.       เมื่อ Crucibles เย็นแล้วให้นำไปชั่งน้ำหนักและจดบันทึกน้ำหนักที่ได้
     6.       คำนวณ % of ash

ตารางบันทึกผล

ครั้งที่
น.น. crucible (g)
น.น. crucible +sample (g)
น.น. crucible + ash  (g)
น.น. เถ้าทั้งหมด (g)
1
35.6083
37.6661
35.6434
0.0351
2
36.3509
38.3600
36.3830
0.0321
เฉลี่ย
35.9796
38.0131
36.0132
0.0336




การวิเคราะห์หาปริมาณไขมัน
( Detenmination of Fat by Soxhlet )
วัตถุประสงค์
การทำความเข้าใจหลักการและวิธีการในการกำหนดปริมาณไขมันในเครื่องและรีเอเจนต์

ทฤษฎี
ในระบบวิธีการสกัดแบบการประมาณไขมันไขมันจะถูกดึงออกมาจากอาหารโดยการสกัดต่อเนื่องกับปิโตรเลียมอีเทอร์

วัสดุและสารเคมี
     1.       Soxhlet distillation flask and extractor
     2.       Fat-free extraction thimble
     3.       Water bath
     4.       Reflux condenser
     5.       Hot air oven 100

     6.       Petroleum ether ( boiling range 40-60 )
     7.       Desiccator

วิธีการทำ
1. การตั้งค่าวิธีการสกัดแบบระบายกับคอนเดนเซอร์กรดไหลย้อนและกระติกน้ำกลั่นที่ได้รับก่อนหน้านี้แห้งและชั่งน้ำหนัก
2. ชั่งน้ำหนักอย่างถูกต้อง 2-3 กรัมของตัวอย่างอาหารการไล่ความชื้นเป็นปลอกเสียบสกัดไขมันฟรีเบา ๆ ด้วยสำลี
3. วางในปลอกแยกและเพิ่มปิโตรเลียมอีเทอร์จนกว่าจะ syphons มากกว่าหนึ่งครั้ง
4. เพิ่มปิโตรเลียมอีเทอร์จนกว่าบาร์เรลของ แยกเป็นครึ่งเต็ม
5. แทนที่คอนเดนเซอร์ให้แน่ใจว่าข้อต่อมีความแน่นและสถานที่ในเครื่องทำความร้อนไฟฟ้า
6. ปรับระดับความร้อนเพื่อให้ตัวทำละลายเดือดเบา ๆ และออกจากระบบเพื่อสูบฉีดอย่างน้อยสิบครั้ง (-16 ชั่วโมง)
7. กระติกน้ำเดือดแห้งที่มีไขมันที่สกัดในเตาอบลมร้อนที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 30 นาที เย็นในเดซิและชั่งน้ำหนักคำนวณไขมันจะถูกคำนวณเป็นอัตราร้อยละของตัวอย่างที่นำมาให้ที่

ตารางบันทึกผล

ครั้งที่
น.น. ตัวอย่าง (g)
น.น. flask (g)
น.น. flask  ไขมัน (g)
1
3.0822
95.6231
96.3994


การวิเคราะห์หาปริมาณโปรตีน
(Determination of Protein)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณหาปริมาณโปรตีนในผลิตภัณฑ์อาหารด้วยวิธีการต่างๆ
ทฤษฎี
ในการวิเคราะห์อาหารโดยทั่วไป การหาปริมาณโปรตีน มักนิยมหาโปรตีนทั้งหมดมากกว่าหาโปรตีนแต่ละชนิด ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้วิธีของ Kjeldehl Methods วิธีการนี้เป็นการหาปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen) ซึ่งหมายถึง True Protein และ Non-Protein nitrogenous substance ยกเว้นพวกในโตรเจนที่อยู่ในรูปของ nitrate, nitrite และ nitroso compounds จะไม่สามารถหาได้ด้วยวิธี Kjeldehl โดยตรงจะต้องมีการเพิ่มเติมดัดแปลงวิธีการของ Kjeldehl ในบางขั้นตอน

สารเคมี
1. Catylysts mixture (Sodium sulphate 96% + Copper sulphate 3.5 % + Selinium dioxide 0.5 %)
2. Conc. Sulphuric acid
3. 2% Boric acid
4. Methyl red indicator (เตรียมโดยละลาย Methyl red 0.016 กรัม และ Bromocresol green 0.083 กรัม ใน Ethyl alcohol 100 mL. )
5. 50% Sodium hydroxide
6. 0.05 M Sulphuric acid
วิธีการ
1. ชั่งตัวอย่างอาหาร 1.5-2.0 กรัม (คะเนว่ามีปริมาณ N 0.03-0.04 %) ใส่ลงในKjeldahl digestion flask ใส่ catalyst mixture 8 กรัม และ Conc . Sulphuric acid 20-25 mL
2. นำไปย่อยโดยพยายามต้มให้เดือด พยายามวาง digestion flask ให้เอียงเล็กน้อย ต้มจนกระทั้งไม่มีฟอง จึงเพิ่มความร้อนให้สูงขึ้น เขย่าเป็นครั้งคราว ย่อยจนได้ส่วนผสมใส (ประมาณ 2 ชม. ) ปล่อยทิ้งไว้ให้เย็น
3. เติมน้ำกลั่นลงไปละลายส่วนผสม (ใช้น้ำกลั่นปริมาตรไม่เกิน200 มล. ) แล้วเทส่วนผสมลงใน digestion flask ในน้ำกลั่นปริมาตรน้อยที่สุดล้าง digestion flask แล้วเทลงใน digestion flask เติมน้ำกลั่นปริมาตร400 มล. ลงใน distillation flask ผสมให้เข้ากันเติมเศษซังกะสีลงไป 2-3 ชิ้น
4. ต่อ distillation flask เข้ากับ condensor ซึ่งปลายของ condensor จะต้องจุ่มอยู่ต่ำกว่าระดับของสารละลาย boric acid เข้าข้น 2% จำนวน 50 มล. ใน flask 500 มล. เติม Methyl red indicator ลงไป 2-3 หยด
5. เติมสารละลาย Sodium hydroxide เข้มข้น 50% จำนวน 75 มล. ลงไปในกรวยที่อยู่เหนือ distillation flask อย่าช้าๆ แอมโมเนียที่เกิดขึ้นจะถูกจับไว้โดย Boric acid
6. กลั่นจนได้ของเหลวที่กลั่นออกมาอย่างน้อย 300 มล.
7. ใช้น้ำกลั่นล้าง Condensor และปลายของ Condensor เ้านที่จุ่มอยู่ในสารละลายบอริค ใส่ลงในฟลาสก์ นำสารละลายที่กลั่นได้ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น
8. นำสารละลายที่ได้ทั้งหมดไตเตรทกับ 0.05 M Sulphuric acid โดยทำ blank ควบคู่กันไปด้วย ( blank ไม่ควรใช้สารละลายกรด 0.05 M H2SO4 เกิน 0.5 มล. )
9. คำนวณหา %Total Nitrogen ในตัวอย่าง

ตารางบันทึกผล

ครั้งที่
ตัวอย่างอาหาร (g)
ปริมาตร H2SO4 เริ่มต้น (ml)
ปริมาตร H2SO4 สุดท้าย (ml)
ปริมาตร H2SO4 ที่ใช้ไตเตรท (ml)
1
1.0414
12.00
16.50
4.50
2
1.0573
16.50
21.30
4.80
เฉลี่ย
1.0494
14.25
18.90
4.65
blank
-


0.2