อุปกรณ์และเครื่องมือ
1. Burettes 4. Porcelain basin
2. Pipettes 5. pH-meter
3. Erlenmeyer flasks 6. Analytical balance
สารเคมี
1. 0.1N NaOH 2. 1% Phenolphthalein
วิธีการ
1. Total Titratable Acidity
- เตรียมตัวอย่างอาหารและชั่งน้ำหนัก 5 g (น้ำหนักที่แน่นอน) หรือปิเปต 10 ml. ใส่ลงในฟลาสค์ (กรณีตัวอย่างอาหารมีความเข้มข้นสูง ให้เติมน้ำกลั่นลงไป 25 ml. คนให้เข้ากัน)
- หยด 1% Phenolphthalein 3 หยด ไตเตรตตัวอย่างด้วย 0.1N NaOH จนถึงจุดยุติ
- บันทึกปริมาตร 0.1N NaOH ที่ใช้ และคำนวณหา %Acidity as main acid ในผลิตภัณฑ์แต่ละตัว
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ครั้งที่
|
นน.ตัวอย่างอาหาร
(g)
|
ปริมาตร 0.1N NaOH ที่ใช้ไป (ml.)
|
1
|
5.3096
|
2.70
|
2
|
5.3482
|
3.00
|
เฉลี่ย
|
5.3289
|
2.85
|
ตัวอย่างอาหารที่นำมาวิเคราะห์มีกรดชนิด
citric
ค่า factor
ของกรด citric = 0.07005 g/ml.
0.07005
g/ml. × 0.1N NaOH = 0.007005
สลล. 0.1N
NaOH ปริมาตร 1 ml. ทำปฏิริยาพอดีกับ citric 0.007005 g
2.85 ml. ทำปฏิริยาพอดีกับ citric (0.007005×2.85)/1 = 0.02 g
ตัวอย่างอาหาร 5.3289
g มีกรด citric
0.02 g
ถ้าตัวอย่างอาหาร
100 g จะมีกรด citric = (100×0.02)/5.3289 =
0.375 g
ดังนั้น
ตัวอย่างอาหาร มีกรด citric = 0.375%(w/w)
2. Fixed acidity
- เตรียมตัวอย่างอาหารและชั่งน้ำหนัก 5 g (น้ำหนักที่แน่นอน) หรือปิเปต 10 ml. ลงใน Porcelain basin
- นำไประเหยบน water bath จนเกือบแห้ง (ระวังอย่าให้น้ำแห้งมากเกินไป)
- เติมน้ำกลั่น 10 ml. และนำไประเหยบน water bath จนเกือบแห้ง ทำซ้ำ 5 ครั้ง
- หยด 1% Phenolphthalein 3 หยด ไตเตรตตัวอย่างด้วย 0.1N NaOH จนถึงจุดยุติ
- บันทึกปริมาตร 0.1N NaOH ที่ใช้ และคำนวณหา Fixed acidity
3. Volatile acidity
คำนวณ %Volatile acidity จากสูตร
%VA = %TTA - %FA
4. pH value
- สามารถวัดค่า pH ด้วยเครื่อง pH-meter and pH-paper
อ้างอิง : คู่มือปฏิบัติการวิชา FTH311 เคมีอาหาร1 คณะเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยรังสิต
ค่า factorของ citric หามาจากอะไรคะ ?
ตอบลบ